กระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายกำหนดให้มีการท่องอาขยาน
อย่างจริงจังในสถานศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2542 เป็นต้นมา
โดยมีวัตถุประสงค์ของการท่องอาขยาน เพื่อให้นักเรียนตระหนักในคุณค่าของภาษาไทย
และให้ซาบซึ้งในความไพเราะของบทร้อยกรอง เป็นพื้นฐานในการแต่งคำประพันธ์ สื่อในการถ่ายทอดคุณธรรม อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
มหาชาติ
เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม
และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคำหลวงในวันธรรมสวนะ อ่านเพิ่มเติม
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
เป็นวรรณคดี คำสอน
ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรม
ที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ ไพเราะ มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย สามารถจดจำได้ง่าย อ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ประวัติผู้แต่ง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นพระราชธิดา
ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ณ
พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
โดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้
พระนามแฝงว่า รามจิตติ
เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อ พ.ศ. 2464
ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน 18 ฉบับ
รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด 1 ปี 7 เดือน อ่านเพิ่มเติม
นิราศนรินท์คำโคลง
นิราศนริทร์คำโคลง
เป็นนิราศที่มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ มีเนื้อหาสำคัญอยู่ที่การกล่าวคร่ำครวญถึงนางอันเป็นที่รัก
ด้วยสำนวนโวหารอันไพเราะและมีคุณค่าในด้านวรรณศิลป์
นิราศนริทร์จึงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของนิราศคำโคลง อ่านเพิ่มเติม
นิทานเวตาล เรื่องที่10
ความเป็นมา
นิทานเวตาล
ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย
โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ อ่านเพิ่มเติม
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
รัชกาลที่ 2 เป็นบทละครรำที่พร้อมเพรียงทั้งเนื้อหา ความไพเราะ กระบวนการเล่นละคร
และยังสะท้อนถึงประเพณีไทยในอดีต โดยแม้บทละครรำเรื่อง อิเหนา จะมีพื้นเพมาจากชวา
แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อ่านเพิ่มเติม
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไป อ่านเพิ่มเติม
การวิจักษ์วรรณคดี
วรรณคดีเป็นหนังสือซึ่งแต่งดี
มีคุณค่าด้านเนื้อหาสาระ และคุณค่าทางวรรณศิลป์ การที่จะนิยมหรือยอมรับว่า
หนังสือเรื่องใดแต่งดีหรือมีคุณค่า
ผู้อ่านต้องสนใจใคร่รู้และควรอ่านอย่างไตร่ตรองให้ถ่องแท้
เพื่อจะได้เข้าใจในเรื่องราวและได้รับอรรถรสของบทประพันธ์
โดยผู้อ่านอาจจะพิจารณาว่า หนังสือเล่มนั้นมี อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)